Free Lines Arrow

วันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559




สรุปวิจัย



เรื่องการพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบบูรณาการหน่วยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำชั้นอนุบาลปีที่สองโดยใช้เทคนิคtgt

การศึกษาค้นคว้าอิสระของยุทัยทิพย์. ชาครนิธิพงศ์

เสนอต่อมหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน 


ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม


ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
เพื่อพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบบูรณาการหน่วยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำชั้นอนุบาลปีที่สองโดยใช้เทคนิคtgtที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิภาพของแผนจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบบูรณาการโดยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำชั้นอนุบาลปีที่สองโดยใช้เทคนิคtgt
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบบูรณาการหน่วยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำชั้นอนุบาลปีที่สองโดยใช้เทคนิคtgt

ความสำคัญของการศึกษาค้นคว้า
ได้แผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบบูรณาการโดยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำชั้นอนุบาลปีที่สองโดยใช้เทคนิคtgtที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 80 เพื่อนำไปจัดประสบการณ์เพื่อนำไปจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับพัฒนาการและความต้องการความสนใจของผู้เรียน

ได้แนวทางสำหรับผู้สอนและผู้สนใจในการสร้างแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้ชั้นอนุบาลให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า
1.ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
ได้แก่นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่สองภาคเรียนที่หนึ่งปีการศึกษา 2549 กลุ่มโรงเรียนห้วยแถลงอำเภอห้วยแถลงสำนักงานเขตที่การศึกษานครราชสีมาจำนวน 120 คน

2.กลุ่มตัวอย่างได้แก่เรียนชั้นอนุบาลปีที่สองโรงเรียนบ้านแสนสุขตำบลห้วยแถลงอำเภอห้วยแถลงสังกัดเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา จำนวน 24คนซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (purposive samlping)

3.เนื้อหาสาระที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าได้แก่เนื้อหาในหน่วยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำชั้นอนุบาลปีที่สองมีทั้งหมด 10 แผน

  • แผนที่หนึ่งการเกิดฝน
  • แผนที่สองปรากฏการณ์ธรรมชาติแผ
  • นที่สามสัตว์ที่พบมากในฤดูฝน
  • แผนที่สี่ประโยชน์ของฝน
  • แผนที่ห้าโทษของฝน
  • แผนที่หกการปฏิบัติตนในฤดูฝน
  • แผนที่เจ็ดโรคที่เกิดในฤดูฝน
  • แผนที่แปดการทำนาปลูกข้าว 
  • แผนที่เก้าวันเข้าพรรษา
  • แผนที่สิบการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


4.ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้าได้แก่ภาคเรียนที่หนึ่งปีการศึกษา 2549 ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2549 ถึง 30 กันยายน 2549

วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า

ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
ได้แก่นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่สองภาคเรียนที่หนึ่งปีการศึกษา 2549 กลุ่มโรงเรียนห้วยแถลงอำเภอห้วยแถลงสำนักงานเขตที่การศึกษานครราชสีมาจำนวน 120 คน
กลุ่มตัวอย่าง
ได้แก่เรียนชั้นอนุบาลปีที่สองโรงเรียนบ้านแสนสุขตำบลห้วยแถลงอำเภอห้วยแถลงสังกัดเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา จำนวน 24คนซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (purposive samlping)


เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
มีสามชนิดคือ

  • แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการหน่วยธรรมชาติรอบตัว เรื่องฝนชุ่มฉ่ำชั้นอนุบาลปีที่สองโดยใช้เทคนิคทีจีทีจำนวน 10 แผนเวลา 10 ชั่วโมง

  • แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำชั้นอนุบาลปีที่สองโดยใช้เทคนิคทีจีทีจำนวน 20 ข้อ

  • แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบบูรณาการหน่วยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำชั้นอนุบาลปีที่สองโดยใช้เทคนิคทีจีทีจำนวน 10 ข้อ

ขั้นตอนดำเนินการศึกษาค้นคว้า
1.ทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำจำนวน 20 ข้อดำเนินการโดยผู้ศึกษาค้นคว้าเป็นผู้อ่านคำสั่งและคำถามของแบบทดสอบให้นักเรียนฟัง
2.ดำเนินการสอนโดยใช้แผนจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบบูรณาการโดยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำโดยใช้เทคนิคทีจีทีที่ผู้ศึกษาค้นคว้าพัฒนาขึ้นสำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่สองจำนวน 10 แผนโดยมีวิธีการและขั้นตอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดังนี้

ขั้นที่หนึ่งแบ่งกลุ่มนักเรียนคละความสามารถ เก่งกลางอ่อน

ขั้นที่สองผู้นำเสนอความรู้ใหม่แก่นักเรียนนำเสนอด้วยสื่อที่น่าสนใจทั้งชั้นเรียน

ขั้นที่สามนักเรียนร่วมกันศึกษาทบทวนความรู้ร่วมกันโดยจับคู่ฝึกถามตอบจากแบบฝึกทักษะ เพื่อเตรียมตัวเข้าแข่งขัน
ที่สี่ส่งตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมาแข่งขันหน้าชั้นเรียนที่รักกลุ่มมาความสามารถโดยแยกเป็นสีเขียวคือเก่งสีเหลืองคือปานกลางสีชมพูคือปานกลางและสีแดงคืออ่อนให้คะแนนตามกติกาการแข่งขัน  

ขั้นที่ห้ารวมคะแนนของแต่ละกลุ่มที่ออกมาแข่งขันเสนอผลการแข่งขันและชมเชยให้รางวัล
สามทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. เช่นเดิมและปฏิบัติเช่นเดียวกับการสอบก่อนเรียนและวัดความพึงพอใจในการเรียนรู้ที่มีต่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบบูรณาการหน่วยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำโดยใช้เทคนิคทีจีที

ผลการใช้แผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบบูรณาการหน่วยธรรมชาติรอบตัวเรื่องฝนชุ่มฉ่ำกันอนุบาลปีที่สองโดยใช้เทคนิคทีจีทีที่ผู้ศึกษาค้นคว้าสร้างขึ้นปรากฏดังนี้

  • มีประสิทธิภาพ 86 . 94 / 83 . 12 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้
  • ดัชนีสิทธิผลของแผนมีค่าเท่ากับ0.7137ซึ่งหมายถึงนักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นหลังจากเรียนด้วยแผนจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบบูรณาการหน่วยธรรมชาติรอบตัว เรื่องฝนชุ่มฉ่ำโดยใช้เทคนิคทีจีทีคิดเป็นร้อยละ 71 . 37
  • ความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้อยู่ในระดับมาก



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น